การเขียนวรรณกรรมแบบญี่ปุ่น

Great Books for Great Readers  > Literature >  การเขียนวรรณกรรมแบบญี่ปุ่น
วรรณกรรม
0 Comments
วรรณกรรม

งานวรรณกรรมถือได้ว่าเป็นเรื่องราวที่มีเนื้อหาสร้างความบันเทิงสนุกสนานเพลิดเพลินให้กับผู้ที่ได้อ่านหรือได้รับชมซึ่งในส่วนของวรรณกรรมไทยก็มีหลากหลายรูปแบบแต่สิ่งที่สำคัญเหนือสิ่งอื่นใดคือวรรณกรรมไม่ได้มีอยู่แค่ในประเทศไทยเท่านั้นแต่ในประเทศญี่ปุ่นเองก็ได้มีการสร้างสรรค์งานวรรณกรรมขึ้นมากมายตามแบบฉบับของญี่ปุ่นซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นเรื่องราวหรือ  เรื่องเล่าโดยในลักษณะการเขียนวรรณกรรมของญี่ปุ่นที่สำคัญสำหรับการเขียนโครงการ 

  • วรรณกรรมแบบฉบับเยาวชนของญี่ปุ่นเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นแต่ก็ต้องมีการค้นคว้าหาข้อมูลมาประกอบกันอย่างจริงจังโดยที่จะต้องสามารถยกเอาสภาพปัญหาสังคมของญี่ปุ่นมาผนวกเข้ากับเรื่องเล่านั้นๆได้
  • วรรณกรรมฉบับเด็กและหนังสือผู้ใหญ่ต้องมีความใกล้กันมากขึ้นกว่าเมื่อก่อนแต่ถึงอย่างไรก็ตามเด็กจะมีสายตาที่ด้อยประสบการณ์กว่าผู้ใหญ่เสมอดังนั้นมักเขียนจึงจะต้องสื่อภาพในระดับสายตาที่เด็กมองเห็นได้
  • ในการเขียนวรรณกรรมแบบญี่ปุ่นไม่ว่าฉากของเรื่องจะมีความหม่นหมองหรือเศร้าใจรันทดใจมากแค่ไหนสุดท้ายแล้วจะต้องหลงเหลือความหวังบางอย่างเอาไว้ให้ชีวิตได้คิดและดำเนินต่อไป

การเขียนวรรณกรรมแบบฉบับญี่ปุ่น

เริ่มต้นจากการกำหนดแก่นเรื่องโดยที่การวางขอบเขตของโครงเรื่องไม่ได้มีข้อกำหนดตายตัวว่าควรจะเริ่มต้นอย่างไรและจบลงตรงไหนซึ่งบางคนอาจจะเลือกจากเรื่องที่ตัวเองสนใจในขณะนั้นเอามาเขียนและบอกเล่าหรืออาจจะได้ไอเดียจากเว็บแรกที่คิดขึ้นระหว่างเดินทางหรือในขณะอาบน้ำก็เป็นไปได้เช่นกันแต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องมีการค้นคว้าหาข้อมูลมาประกอบเรื่องราวเหล่านั้นอย่างจริงจัง

นักเขียนวรรณกรรมเยาวชนเป็นคนจริงจังมากสำหรับชาวญี่ปุ่น  อย่างที่เราได้ชวนไปในตอนต้นว่าการเขียนแบบฉบับญี่ปุ่นจะต้องมีการนำเอาแนวความคิดและสภาพสังคมรวมถึงปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจริงมาผนวกกันไว้ได้อย่างเป็นเรื่องเป็นราวและมีเนื้อหาสาระดังนั้นในส่วนของการเป็นนักเขียนวรรณกรรมและเขียนงานเยาวชนของคนญี่ปุ่นนั้นจึงต้องลงไปคลุกคลีกับข้อมูลต่างๆเพื่อให้ได้แก่แพ้และเรื่องราวอันเป็นจริงเพื่อนำมาประกอบการเขียน

ในส่วนของการกำหนดเนื้อหาหรือการเขียนตามแบบฉบับญี่ปุ่นไม่ได้มีการกำหนดหรือมีกฎตายตัวว่าจะต้องเขียนแบบไหนซึ่งความแตกต่างระหว่างการเขียนหนังสือเด็กกับหนังสือผู้ใหญ่จึงต้องสะท้อนให้คนสองกลุ่มสามารถมองเห็นในภาพที่ตัวเองดื่มธนาการได้จากประสบการณ์ซึ่งในกรณีนี้ภาพมุมมองของเด็กที่มีต่อทะเล อาจจะไม่เท่ากับภาพที่ผู้ใหญ่มองเห็นก็ได้นั่นเอง 

ดังนั้นในการเขียนงานวรรณกรรมตามแบบฉบับญี่ปุ่นการสะท้อนความคิดและจินตนาการให้เห็นภาพในเรื่องที่กำลังเล่าจึงเป็นสิ่งที่สำคัญของนักเขียนที่จะต้องแสดงออกมาให้ได้มากกว่าการกำหนดขอบเขตของเนื้อหาเสียอีก